วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

ไตรสรณคมน์ สันสกฤต-บาลี


สันสกฤต

नमः (भगवते) शाक्यमुनये तथागतायार्हते सम्यक्संबुद्धाय। (เทวนาครี)
நம (பகவதே) சாக்யமுனயே த்தாகதாயார்ஹதே ஸம்யக்ஸம்புத்தாய / (ทมิฬ)
នមះ (ភគវតេ) សាក្យមុនយេ តថាគតាយាហ៌តេ សម្យក្សំពុទ្ធាយ / (เขมรปัจจุบัน)
นมะ (ภควเต) ศากฺยมุนเย ตถาคตายารฺหเต สมฺยดกฺสํพุทฺธาย /

บาลี

नमो तस्स भगवतो अरहतो सम्मा सम्बुद्धस्स ।
நமோ தஸ்ஸ பகவதோ அரஹதோ ஸம்மா ஸம்புத்தஸ்ஸ /
នមោ តស្ស ភគវតោ អរហតោ សម្មា សម្ពុទ្ធស្ស
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส /

สันสกฤต

बुद्धं शरणं गच्छामि। धर्मं शरणं गच्छामि। संघं शरणं गच्छामि।
புத்தம் சரணம் கச்சாமி / தர்மம் சரணம் கச்சாமி / சங்கம் சரணம் கச்சாமி/
ពុទ្ធំ សរណំ គច្ឆាមិ / ធម៌ំ សរណំ គច្ឆាមិ/ សំឃំ សរណំ គច្ឆាមិ/
พุทฺธํ ศรณํ คจฺฉามิ / ธรฺมํ ศรณํ คจฺฉามิ / สํฆํ ศรณํ คจฺฉามิ /

บาลี

बुद्धं सरणं गच्छामि । धम्मं सरणं गच्छामि । संघं सरणं गच्छामि ।
புத்தங் சரணங் கச்சாமி / தம்மங் சரணங் கச்சாமி / சங்கங் சரணங் கச்சாமி/
ពុទ្ធំ សរណំ គច្ឆាមិ / ធម្មំ សរណំ គច្ឆាមិ/ សំឃំ សរណំ គច្ឆាមិ/
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ / ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ / สํฆํ สรณํ คจฺฉามิ /

Refer to : http://www.dsbcproject.org/canon-text/content/412/1878

สำเนียงแขกเหนือ


⛿🏤⛿🏡⛿🏤⛿🏡⛿

สำเนียงเขมร


⛿🏤⛿🏡⛿🏤⛿🏡⛿

สำเนียงแขกอินเดียใต้ (ทมิฬ)


⛿🏤⛿🏡⛿🏤⛿🏡⛿


หมายเหตุ 

1) อักษรเขมรปัจจุบันใช้ ស แทน /ส/, /ศ/, /ษ/

2) ศากฺยมุนิ (ศากยมุนี -ไทย) ทมิฬสะกดเป็น சாக்கியமுனி (รูปเขียน : จากฺกิยมุนิ เสียงอ่าน: ซากฺกิยมุนี)/ சாக்யமுனி (รูปเขียน: จากฺยมุนิ เสียงอ่าน: ซากฺยมุนี) เพราะแทรก இ อิ ทำให้ซ้อนตัวสะกดดซ้ำเป็น க்கி เข้ามาช่วยในการออกเสียงก็ได้ ความหมายไม่เปลี่ยน

3) มีชาวทมิฬบางกลุ่มที่ไม่ใช้พุทธแท้ แต่ตามกระแสวัฒนธรรมพุทธในอินเดียใต้ เอาคำว่า "โสมบุตร" ซึ่งหมายถึง เทวดานวเคราะห์ประจำวันพุธ เข้ามาเป็นบทสวดบูชาพระพุทธเจ้าในรัฐทมิฬนาฑูเนื่องจากการเทียบผิด และเป็นของใหม่ ไม่ใช่บทสวดของชาวพุทธในอินเดียใต้อย่างแท้จริง อาจจะมีที่มาจากลิทธิบูชาศักติในท้องถิ่นที่พยายามรวมทุกศาสนา ไม่ว่าจะเป็นคริสต์ ไชนะ พุทธ ฮินดู ฯ ไว้ด้วยกัน แต่ไม่มีความรู้ในพุทธศาสนาลึกซึ้งพอจึงลากเข้าความ