วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2565

นักดนตรีนักเต้นรำ-คนธรรพ์หรือกินรี


 

1. เดิมในสันสกฤต พวกกินนรคือนักดนตรี ส่วนพวกคนธรรพ์คือนักเต้นรำ

.....
เพราะคำว่าคนธรวี แปลว่านางคนธรรพ์ ลูกสาวของคนธรรพ์ นางอัปสร และคำพูด แต่ คนธรวปัตนี गन्धर्वपत्नी แปลว่า ภรรยาของพวกคนธรรพ์ และแปลว่านางอัปสร โดยเหล่านางอัปสรคือลูกศิษย์ของภรตมุนี (พ่อแก่หรือฤๅษีแห่งการเต้นรำของอินเดีย) โดยผู้ที่จะแสดงเป็นคู่ชายหญิงในละครก็คือสามีของนางอัปสร หรือนักสิทธิฤๅษีหนุ่มที่เป็นลูกศิษย์ของภรตมุนี ดังนั้นคนธรรพ์เดิมคือนักเต้นรำที่อาจจะมีความรู้ด้านดนตรีบ้าง
ส่วนลูกของฤๅษีกัศยปะและนางปราธาเทวี เป็นพวกกินนร คือตุมฺพุรุ तुम्बुरु เทพ มีเศียรเป็นม้า ก็ดีพิณเป็นนักดนตรี


..................
2. คนธรรพ์เป็นนักดนตรี กินรีเป็นนักฟ้อนรำ
2.1 คนธรรพ์เป็นนักดนตรี มาจากอิทธิพลบาลีคือเรื่องปัญจสิงขรในพระไตรปิฎก มาจากชื่อศาสตร์การเล่นดนตรีในสมัยหลังที่เรียกดนตรีและการเต้นรำว่า คนธรรพ์วิทยา
2.2 กินรีเป็นนักฟ้อนรำ มาจากเรื่องนางมโนราห์รำบูชายัญ
............
ลิงก์ด้านลงโรงเรียนสอนดนตรีที่เมืองบอมเบย์เคยมี โรงเรียนชื่อว่า กินนระ สกูล ออฟ มิวสิก (ปัจจุบันหาในแผนที่ไม่เจอน่าจะมีการเปลี่ยนชื่อไปแล้ว เป็นโรงเรียนสอนดนตรีในยุคซิกตี้)



สัปตฤๅษีของกรีกโบราณ



สัปตฤๅษี Sapta Rishi หรือปราชญ์ทั้ง 7 แห่งกรีก (ช่วง 97-12 ปีในพุทธกาล)
............
ฮอย เฮปต้า โซฟอย hoi hepta sophoi (οἱ επτά σοφοί) Greek 7 sage
......
1 ทาเลส. Thales of Miletus (c. 624 BC – c. 546 BC) ( ประมาณ 624 ปีก่อนคริสตกาล - ประมาณ 546 ปีก่อนคริสตกาล ) เป็นนักปรัชญา นักคณิตศาสตร์ และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนแรกที่รู้จักกันดี คำแนะนำของเขา " จงรู้จักตัวเอง " ถูกสลักไว้ที่ด้านหน้าของวิหารอพอลโลในเดลฟี
.......
2. ปิตตาคุส Pittacus of Mytilene (c. 640 BC – c. 568 BC) ( ประมาณ 640 ปีก่อนคริสตกาล - ประมาณ 568 ปีก่อนคริสตกาล ) ปกครอง Mytilene ( Lesbos ) เขาพยายามลดอำนาจของขุนนางและสามารถปกครองโดยได้รับการสนับสนุนจากผู้ชุมนุมซึ่งเขาโปรดปราน
.......
3. เบียส หรือ บีอัส Bias of Priene (fl. 6th century BC) ( ช่วงศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช ) เป็นนักการเมืองและสมาชิกสภานิติบัญญัติในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช
........
4. โซลอน Solon of Athens (c. 638 BC – c. 558 BC) ( ประมาณ 638 ปีก่อนคริสตกาล - ประมาณ 558 ปีก่อนคริสตกาล ) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติและนักปฏิรูปที่มีชื่อเสียงจากเอเธนส์โดยวางกรอบกฎหมายที่หล่อหลอม ระบอบประชาธิปไตย ของเอเธนส์
.......
5. คลีโอบูลัส Cleobulus, tyrant of Lindos (fl. c. 600 BC) ทรราชแห่งลินดอส ( ช่วง 600 ปีก่อนคริสตกาล ) มีรายงานว่าเป็นปู่หรือพ่อตาของ Thales;
.......
6. เปเรียนเดอร์ Periander of Corinth (b. before 634 BC, d. c. 585 BC) (เกิดก่อน 634 ปีก่อนคริสตกาล, d. ประมาณ 585 ปีก่อนคริสตกาล ) เป็นทรราชที่สองของราชวงศ์ Cypselid ที่ปกครอง เมืองโคริน ธ์โบราณ การปกครองของ Periander นำมาซึ่งช่วงเวลาที่รุ่งเรืองในประวัติศาสตร์ของ Corinth เนื่องจากทักษะการบริหารของเขาทำให้ Corinth เป็นหนึ่งในนครรัฐที่ร่ำรวยที่สุดในกรีซ
.......
7. ชีลอน Chilon of Sparta (fl. 555 BC) ( ช่วง 555 ปีก่อนคริสตกาล ) เป็น นักการเมืองชาว สปาร์ตันที่มีสาเหตุมาจากการทำสงครามกับสังคมสปาร์ตัน
.............
โดยลำดับที่ 5-6 มีการเสนอชื่อคนที่สับสนแตกต่างกันไป เช่นแทนที่ด้วย Myson of Chenae (6th century BC); Anacharsis the Scythian (6th century BC). เหมือนความสับสนของจำนวนและลำดับตัวแทนสัปตฤๅษีของฮินดู



อมนุษย์ไทยกับรากศัพท์อินโดยูเปียน


 ................Thai version........................

1. ศิวะ มาจากคำว่า ซูส /ซีอุส Zeus
2. พรหมัน หรือพรหม มาจากคำว่า ฟลาเมน flāmen Latin (ที่แปลว่า priest หรือนักบวช)
3. เทพ หรือเทวะ มาจากคำว่า ไดโอส Diós (Δῐός) Greek, Deus (Latin dea)
4. เทวี ที่แปลว่านางเทพ มาจากคำว่า ไดโอนี Dione (Διώνη) feminine and one wife of Zeus & mother of Venus (Latin feminine dea)
5. ยักษ์ หรือยักษะ พัฒนามาจากคำว่า ไกกัส Gigas (Γίγας) Greek ( เพี้ยนเป็น Igsa และกลายเป็น Yagsa)
6. คนธรรพ์ หรือ คนฺธรฺวะ มาจากคำว่า เซนทอร์ Kéntauros (κένταυρος) Greek
7. อัปสร หรือ อัปสรา พัฒนามาจากคำว่า นูมฟอโดรอส Numphódōros (Νυμφόδωρος) ของกรีกที่แปลว่าของขวัญของนางอัปสร หรือของขวัญของเจ้าสาวหรือภรรยาสาว คือ Numphódōros กร่อนเสียงเป็น Umphodoros - amphadara - apsara อัปสร ในที่สุด
8. อสูร มาจากเทพในคัมภีร์อเวสตะซึ่งเป็นเทพของชาวอัสซีเรียน อาซูร Ashur Athur (Assyrian language) โดยพบคำที่อาจจะมีรากคำเดียวกันในภาษาละตินคือ อาร์เธอร์ Arthur (Latin Bear man ที่แปลว่ามนุษย์หมี เป็นชื่อของกษัตริย์อาร์เธอร์ในเรื่องอัศวินโต๊ธกลม)
9. กินนร น่าจะมาจากคำกรีกว่า กิทาโรเดส kitharodes (κιθαρῳδος) Greek, แปลว่าผู้เล่น cithara (κιθάρα) โดยเครื่องดนตรีนี้ในภาษฮิบรูเรียกว่า กินนอร Kinnor (Hebrew: כִּנּוֹר‎ ) ที่เป็นเครื่องดนตรีโบราณของประเทศอิสราเอล
10. โยคี มีรากคำเดียวกันกับคำกรีกคือไซ-กอส zygós (ζυγός) แปลว่า แอกที่ไว้ใช้ผูกสัตว์ (ติดคันไถ)
11. พระสิทธา หรือนักสิทธิ์ มีมาจาก เซเทอร์ / เซเทอรอส sátyros (σάτυρος) Greek มีรากคำเดียวกับคำว่า sage ในภาษาอังกฤษ
12 สัปตฤๅษี มาจาก เฮปต้า โซฟอย ของกรีกเรียกมีคำนำหน้าว่า ฮอย เฮปต้า โซฟอย hoi hepta sophoi (οἱ επτά σοφοί) Greek 7 sage (1. Thales of Miletus 2. Pittacus of Mytilene 3. Bias of Priene 4. Solon of Athens 5. Cleobulus, tyrant of Lindos 6. Periander of Corinth 7. Chilon of Sparta ) – Sapta Rishi
13.นาคะ นาค หรือพญานาค มาจากคำว่า สนาคา snaca (ในภาษาอังกฤษเก่าแปลว่า Snake หรืองู) ในขณะที่ภาษาก่อนอินโดยูโรเปียนมีรากคำว่า Proto-Indo-European sneg- (คลาน ,ที่เลื้อยคลาน) มีรากคำเดียวกับคำว่า สเน็ก snake ในภาษาอังกฤษ
14. ครุฑ มีรากคำว่าจากคำว่า คู, gū ในภาษาก่อนอินโดยูโรเปียน Proto-Indo-European root แปลว่า กรีดร้อง, หรือภาษาอังกฤษเก่า Old Englishที่ว่า ไซตะ cȳta (ที่แปลว่า kite ว่าว หรือ bittern นกยาง และเป็นรากคำที่มาของคำว่า kite ที่แปลว่า ว่าว และนกตระกูลเยี่ยวและอินทรี ) หรือภาษากรีกโบราณ Ancient Greek ที่เรียกว่า คีปส์ γύψ (gúps แปลว่า vulture หรืออีแร้ง) หรือภาษาละติน คือ อะควิลา aquila (Latin: แปลว่า Eagle หรือนกอินทรี) - โดยที่น่าสนใจคือ คำว่า กรีฟฟิน griffin สัตว์ที่หัวเป็นนกอินทรีตัวเป็นสิงโตมีรากศัพท์มาจากคำว่า γύψ (gúps แปลว่า vulture หรืออีแร้ง) และลูกของพญาครุฑในรามายณะก็เป็นพญานกแร้งสดายุ
15. วิทยาธร มีรากคำวมาจากภาษาก่อนอินโดยูโรเปียน the Proto-Indo-European root คือ weyd แปลว่า See มอง, ดู ต่อมาในกลุ่มภาษาอินโดยูโรเปียน เช่นภาษาอังกฤษเก่า wīs และภาษาก่อนเยอรมัน wisaz แปลว่าฉลาด ในรากศัพท์ของภาษาอังกฤษปัจจุบัน wis - wiz แปลว่า wisdom ความรู้
......คำภาษาสันสกฤตที่ตรงกับคำอังกฤษ......
วิทยาธร विद्याधर m. wizard ผู้วิเศษ
วิทยาธรี विद्याधरी f. wizardess ผู้วิเศษหญิง
...................
wic - พื้นบ้าน village
......
wicca -m. ผู้ทำนายหรือหมอดูชาย Witcher แม่มดผู้ชาย, พ่อมด
wicce - f. ผู้ทำนายหรือหมอดูหญิง - Witch แม่มด
................. สันสกฤต......................
ผู้วิเศษ - โยคิน
ผู้วิเศษหญิง - โยคินี
พ่อมด - มายิน
แม่มด - ฑากินี ฑากิน ฑาอิน
......
      👉 แนวคิดเล่านี้รวบรวมมาจากข้อสันนิษฐานของนักวิชาการต่างชาติ บางความคิดเห็นหลาย ๆ ท่านที่ชอบอ่านหนังสือก็น่าจะได้เคยได้ยินมาบ้างแล้ว แต่อย่างไรก็ดียังมีตัวละครในวรรณคดีสันสกฤตที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณคดีสันสกฤตที่ไม่สามารถเปรียบเทียบรากคำหรือชื่อได้ แต่เห็นได้ชัดเจนว่าได้รับอิทธิโครงเรื่องและบทบาทของตัวละครเช่น นางสีดากับเฮเลนแห่งทรอย กฤษณะกับเทพจอมพลังเฮอคิวริส หรือ นางสุวรรณมัจฉากับนางเงือกเป็นต้น ซึ่งคำว่าสุวรรณมัจฉาเป็นคำสันสกฤตผสมบาลี ส่วนคำว่านางเงือกเป็นคำไทยเทียบรากศัพท์ภาษาไม่ได้ แต่ก็เป็นตัวละครที่ได้อิทธิพลต่อกัน รู้ได้ว่านางสุวรรณมัจฉาคือนางเงือกที่มีมาตั้งแต่อารยธรรมเปโสโปเตเมีย และทุกอารยธรรมทั่วโลก 

..................English version......................

1. ซูส /ซีอุส Zeus - Shiva
2. ฟลาเมน flāmen (priest) Latin - Brahman
3. ไดโอส Diós (Δῐός) Greek, Deus (Latin dea) – Deva
4. ไดโอนี Dione (Διώνη) feminine and one wife of Zeus & mother of Venus (Latin feminine dea) – Devi
5. ไกกัส Gigas (Γίγας) Greek- (Igsa- Yagsa) - Yaksha
6. เซนทอร์ Kéntauros (κένταυρος) Greek – Gandharva
7. นูมฟอโดรอส Numphódōros (Νυμφόδωρος)
Gift of the Nymphs or the gift of his young wife, bride – Apsara
8. อาซูร Ashur Athur (Assyrian language) Arthur (Latin Bear man) – Asura
9. กิทาโรเดส kitharodes (κιθαρῳδος) Greek, one who used the cithara (κιθάρα) to accompany their singing, Kinnor (Hebrew: כִּנּוֹר‎ kīnnōr: an ancient Israelite musical instrument in the yoke lutes family) – Kinnara
10. ไซ-กอส zygós (ζυγός) yoke, for joining animals – Yoga
11. เซเทอร์ / เซเทอรอส sátyros (σάτυρος) Greek – Siddhas (sage)
12 ฮอย เฮปต้า โซฟอย hoi hepta sophoi (οἱ επτά σοφοί) Greek 7 sage (1. Thales of Miletus 2. Pittacus of Mytilene 3. Bias of Priene 4. Solon of Athens 5. Cleobulus, tyrant of Lindos 6. Periander of Corinth 7. Chilon of Sparta ) – Sapta Rishi
13. สนาคา snaca (Old English, Snake) Proto-Indo-European sneg- (to crawl; a creeping thing) – Naga
14. คู, gū "screech." Proto-Indo-European root, Old English cȳta (“kite; bittern”) γύψ (gúps “vulture”) Ancient Greek aquila (Latin: Eagle) - Garuda
15 วิซ - wis - wiz - wisdom - Vidyadara

......คำภาษาสันสกฤตอื่น ๆ ที่ตรงกับคำอังกฤษ......