หลายคนมักจะได้ยินละครโทรศัพท์ และรายการข่าวมักใช้คำว่า "อาบัง" เรียกแขกที่มาอาศัยในเมืองไทย
โดยแท้จริงแขกที่อาศัยในไทยไม่ได้มีเฉพาะแขกฮินดูจากอินเดีย แต่ยังมีแขกอิสลาม จากอินโดนีเซีย มาเลเซีย แขกซิกข์จากอินเดีย และแขกทมิฬ (มีทั้งอินเดียใต้ มาเลเซีย และปากีสถาน)
แต่คำว่า "อาบัง" นั้นไม่ใช่ศัพท์เครือญาติที่ใช้เรียกบุุคคลในภาษาทมิฬ อูระดู และฮินดี ที่นิยมใช้ในหมู่ชนชาติต่าง ๆ ที่เป็นชาวอินเดียที่นิยมเข้ามาค้าขาย และตั้งรกรากในเมืองไทยมายาวนาน โดยชนรุ่นหลังของชาวทมิฬที่เข้ามาใหม่ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
เพราะหลักฐานตามประวัติศาสตร์และจดหมายเหตุราชสำนักไทยโบราณนิยมจ้างพวกพราหมณ์จากอินเดียใต้หรือศรีลังกา (พราหมณ์ทมิฬ) เข้ามาทำพิธีในราชสำนัก
ถาม : แล้วคำว่า "อาบัง" มาจากไหน ?
ตอบ : คำว่า อาบัง คือภาษาชวา-มลายู หรือภาษาอินโดนีเซีย และมาเลเซียปัจจุบัน แปลว่า "พี่ชาย" เป็นศัพท์ที่เป็นวัฒนธรรมชวา มลายู ที่จะเรียกชายที่อาวุโสกว่าที่ไม่รู้จักว่า พี่ชาย เช่นเดียวกับชาติพันธุ์อื่น ๆ ที่คนไทยเรียกว่าแขก
โดยถ้าเป็นแขกอินเดียเหนือที่ใช้ภาษาฮินดีจะเรียกว่า ไภยา (พี่ชาย) และแขกทมิฬจะเรียกว่า แอนณา (พี่ชาย)
อย่างไรก็ดีคำว่า "อาบัง" ไมใช่ภาษาอินเดียแน่นอน ถ้าจะเรียกแขกอินเดียควรใช้คำว่า "ไภยา" หรือ "ภา-อี" ที่เป็นภาษาฮินดีมากว่า
การที่ใครว่า "อาบัง" แปลว่าพี่ชายในภาษาฮินดี นั้นเป็นการปล่อยไก่ของคนไทย ให้อายแขกทำให้รู้ว่าคนไทยยังอ่อนด้อยทางด้านการศึกษาเรื่องชาติพันธุ์และภาษาต่าง ๆ ในอาเซียน ที่มีชนเชื้อชาติแขกชาติพันธุ์ต่าง ๆ มากมาย ไม่ได้มีแต่แขกอินเดีย หรือชวา-มลายูเท่านั้น
โดยแท้จริงแขกที่อาศัยในไทยไม่ได้มีเฉพาะแขกฮินดูจากอินเดีย แต่ยังมีแขกอิสลาม จากอินโดนีเซีย มาเลเซีย แขกซิกข์จากอินเดีย และแขกทมิฬ (มีทั้งอินเดียใต้ มาเลเซีย และปากีสถาน)
แต่คำว่า "อาบัง" นั้นไม่ใช่ศัพท์เครือญาติที่ใช้เรียกบุุคคลในภาษาทมิฬ อูระดู และฮินดี ที่นิยมใช้ในหมู่ชนชาติต่าง ๆ ที่เป็นชาวอินเดียที่นิยมเข้ามาค้าขาย และตั้งรกรากในเมืองไทยมายาวนาน โดยชนรุ่นหลังของชาวทมิฬที่เข้ามาใหม่ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
เพราะหลักฐานตามประวัติศาสตร์และจดหมายเหตุราชสำนักไทยโบราณนิยมจ้างพวกพราหมณ์จากอินเดียใต้หรือศรีลังกา (พราหมณ์ทมิฬ) เข้ามาทำพิธีในราชสำนัก
ถาม : แล้วคำว่า "อาบัง" มาจากไหน ?
ตอบ : คำว่า อาบัง คือภาษาชวา-มลายู หรือภาษาอินโดนีเซีย และมาเลเซียปัจจุบัน แปลว่า "พี่ชาย" เป็นศัพท์ที่เป็นวัฒนธรรมชวา มลายู ที่จะเรียกชายที่อาวุโสกว่าที่ไม่รู้จักว่า พี่ชาย เช่นเดียวกับชาติพันธุ์อื่น ๆ ที่คนไทยเรียกว่าแขก
โดยถ้าเป็นแขกอินเดียเหนือที่ใช้ภาษาฮินดีจะเรียกว่า ไภยา (พี่ชาย) และแขกทมิฬจะเรียกว่า แอนณา (พี่ชาย)
อย่างไรก็ดีคำว่า "อาบัง" ไมใช่ภาษาอินเดียแน่นอน ถ้าจะเรียกแขกอินเดียควรใช้คำว่า "ไภยา" หรือ "ภา-อี" ที่เป็นภาษาฮินดีมากว่า
การที่ใครว่า "อาบัง" แปลว่าพี่ชายในภาษาฮินดี นั้นเป็นการปล่อยไก่ของคนไทย ให้อายแขกทำให้รู้ว่าคนไทยยังอ่อนด้อยทางด้านการศึกษาเรื่องชาติพันธุ์และภาษาต่าง ๆ ในอาเซียน ที่มีชนเชื้อชาติแขกชาติพันธุ์ต่าง ๆ มากมาย ไม่ได้มีแต่แขกอินเดีย หรือชวา-มลายูเท่านั้น
๑ ตารางแสดงว่าไม่มีคำว่า "อาบัง" ในภาษาฮินดีของครอบครัวแขกอินเดียเหนือ
๒ ตารางแสดงว่าไม่มีคำว่า "อาบัง" ในครอบครัวแขกอาหรับ
๓ ตารางแสดงว่าไม่มีคำว่า "อาบัง" ในครอบครัวแขกทมิฬ อินเดียใต้
๔. ตารางแสดงว่า อาบัง (พี่ชาย) อยู่ในครอบครัว ชวา-มลายู
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น